สมบูรณ์ ได้ปราศรัยว่าคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชนภาคใต้ (กป.อพช.ใต้) สนับสนุนข้อเรียกร้อง 10 ข้อ เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ ของ “แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม” ที่ประกาศเมื่อวันที่ 10 ส.ค. สาวอาข่ารุ่นใหม่ ทิ้งชีวิตในเมืองกลับขึ้นดอย ใช้ความรู้นิเทศศาสตร์-การสื่อสาร พัฒนาชุมชน สร้างรายได้ให้คนในพื้นที่ ให้ชีวิตมีสุขอย่างยั่งยืน… ปีใหม่ในความคาดหวังของใครหลายคน อาจหมายถึงตัวเรา “คนใหม่” ไม่ว่าใครก็อยากเป็นตัวเองในเวอร์ชั่นที่ดีที่สุดเสมอ การเปลี่ยนผ่านปีเก่าเข้าสู่ปีใหม่ จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมให้ยึดเหนี่ยวเพื่อตั้งปณิธานในการแก้ไขเรื่องที่เคยพลาด ให้ดีขึ้นกว่าเดิม ต่อให้ตั้งใจแค่ไหน ท้ายที่สุดกลับทำไม่ได้ดังที่คาดหวังไว้ เพราะ.. มองคนรุ่นใหม่และสังคมไทยผ่าน ‘พระพิฆเนศ’ มหาเทพแห่งความสำเร็จ ผู้เป็นพลังของสายมูรุ่นใหม่ที่หวังสำเร็จทางลัด? “พระส่วนใหญ่ ลูกชาวบ้าน ลูกคนยากคนจน แต่การศึกษาของพระ สอนให้พระอยากจะเป็น อยากให้พระเขยิบขึ้นไปในทางสมณศักดิ์ ให้เป็นเจ้าขุนมูลนาย และสึกออกมาก็อยากเป็นคนชั้นกลาง นี่ผิดหลักหมดเลย พระส่วนใหญ่เป็นลูกคนยากคนจน ควรจะเข้าใจคนยากคนจน เป็นพลังเพื่อคนยากคนจน…”
“อาการหัวร้อน” เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดขึ้นได้กับเหล่าเกมเมอร์ทุกคน เนื่องจากหลายครั้งที่เล่นก็มักจะมีอุปสรรคมาขวางทาง เพราะนอกจากฝีมือการเล่นเพื่อเอาชนะคู่แข่งในเกมแล้ว สเปคของอุปกรณ์ที่ใช้เล่นยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยหลัก … “เขา (พล.อ.ประยุทธ์) บอกว่าเขามาจากการเลือกตั้ง แต่ทำไมถึงมีข่าวเรื่องบัตรเขย่ง” นักศึกษาหนุ่มตั้งคำถามถึงความไม่ชอบมาพากลในการเลือกตั้ง 24 มี.ค. วันนี้ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ โดย นายจอง มงคลสกุลฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยพัฒนาและสารสนเทศ เป็นผู้แทน อ.อ.ป. “สิ่งที่ผมพูดเมื่อกี้ ไม่มีเรื่องไหนที่ไม่เกี่ยวกับความเป็นประชาธิปไตย มันเกี่ยวกับความเป็นประชาธิปไตยทั้งสิ้น เราคุยเรื่องแก้รัฐธรรมนูญ ปฏิรูปกองทัพ จัดการ กอ.รมน.ให้เป็นทหารที่พิทักษ์ประชาชน…”
“จูดี้” คือ นักศึกษาผู้ริเริ่มกิจกรรม “วิ่งแฮมทาโร” หนึ่งในกิจกรรมแฟลชม็อบที่จัดขึ้นช่วงเดือน ก.ค.- ส.ค.
“ศาสนาในสังคมไทย ไม่ได้กีดกันเลย เพียงแต่ว่าการบวช มันก็มีขอเขต กฎเกณฑ์ของการบวช ซึ่งต้องไปดูพระวินัย อาตมาเคยพูดไปแล้วในพระวินัย ในบัณเฑาะก์ 5 ประเภท มี 2 ประเภทเท่านั้นเองที่ท่านห้าม ประเภทแรกก็คือ เป็นประเภทที่ถูกตอนไปแล้ว ไม่มีอวัยวะเพศ หรืออาจจะแปลงเพศไปแล้ว ก็บวชไม่ได้ หรือคนมีสองเพศในเพศเดียวกัน หรือมีเพศที่ระบุไม่ได้ไม่ชัดเจน แต่อีกสามประเภท ที่มีลักษณะเบี่ยงเบน หรือรักร่วมเพศ ก็ได้ ท่านไม่ได้ห้ามเลย เพียงแต่ว่า มีข้อแม้ว่า เมื่อคุณมาบวชแล้ว คุณต้องละพฤติกรรมเหล่านั้น ให้หมด…” สิ่งที่ผมสนใจในเรื่องสั้นทั้งสองเรื่องนี้ก็คือ แม้โทนเรื่องของทั้งสองจะดูแตกต่างกัน แต่จุดร่วมกันอย่างหนึ่งก็คือ ‘คนอย่างเบญจ์’ ในการต่อสู้ทางการสังคมและการเมืองนั้นไม่ใช่สิ่งที่จะเอาไปล้างสมองได้อย่างง่ายดายหรือฆ่าให้ตายแล้วก็จบ ‘คนอย่างเบญจ์’ เป็นเหมือนโครงการที่ไม่สิ้นสุด เพราะท้ายที่สุดแล้ว สังคมไทยจะมีคนแบบ ‘เบญจ์’ ที่คล้าย/เหมือน/เป็นอย่างในเรื่องสั้นทั้งสองเรื่องนี้ และอาจมีแนวโน้มที่จะ ‘รุนแรง’ มากขึ้นอีกด้วย คนอย่างเบญจ์เช่นนี้เองคือหนามยอกอกของคนรุ่นเก่าที่ไม่ยอมล้มหายตายจากไปสังคมไทยเสียที…. และ พฤษภาทมิฬ มีความแตกต่างกันในรายละเอียดอย่างไร แม้จะเคยเรียนและอ่านเรื่องราวดังกล่าวมาบ้าง แต่เมื่อเวลาผ่านไป ความทรงจำในส่วนการเมือง ประวัติศาสตร์ชาติ หลายๆ อย่างเรื่องกลับถูกแทนที่ด้วยรัฐบาล คสช.